Content/Like

Definition:
body of knowledge substance material that are related to statistics such as text, VDO, case contents.


1) teach statistical spss
“ในแง่ content ไม่ได้เป็น calculation จ๋า แต่บอกขั้นตอนการทำ SPSS ว่าจะไป load ข้อมูลยังไง ใส่ยังไง ทำยังไง”
“ใน web มีรายละเอียดการทำเยอะเลย”
HROD8_(312-314/13)

2) case based
"ดีฮะ มันเป็นเรื่องเป็นราว มันจะดีตอนที่เราไปเจออะไรจริงๆ เราจะนึกถึงเนื้อหา case ได้” (บางท่านพยักหน้า)
“ดีตอนเวลาสอบ เพราะเวลาอ.สอบชอบให้ทำ case” (บางท่านพยักหน้า) HROD 8_(327-328/14)
Case based ชอบ เพราะได้ applied HR 8_(363/16)

3) Provide key explanation


PEAW
“ช่วยเยอะเลย” (กลุ่มตัวอย่างหลายท่านตอบพร้อมกัน)
ทำให้เราเข้าใจก่อนได้มั้ยว่า ต้อง click SPSS ยังไง ได้ผลมายังไง อ่านค่ามันยังไง”
“ใช่…เพราะรู้วิธีการทำ และเข้าใจแล้ว ไปทำก็ง่ายนิดเดียว”
HROD8_(308-310/13)

“ถูกต้อง” (กลุ่มตัวอย่างหลายท่านพยักหน้า)
“ในแง่ content ไม่ได้เป็น calculation จ๋า แต่บอกขั้นตอนการทำ SPSS ว่าจะไป load ข้อมูลยังไง ใส่ยังไง ทำยังไง”
ใน web มีรายละเอียดการทำเยอะเลย
HROD8_(312-314/13)

“ดีฮะ มันเป็นเรื่องเป็นราว มันจะดีตอนที่เราไปเจออะไรจริงๆ เราจะนึกถึงเนื้อหา case ได้” (บางท่านพยักหน้า)
“ดีตอนเวลาสอบ เพราะเวลาอ.สอบชอบให้ทำ case” (บางท่านพยักหน้า)
HROD8_(327-328/14)

Aj. Sai
“ดีค่ะ จากง่ายไปยาก” HR 7 (288/12)
ในแง่ content ไม่ได้เป็น calculation จ๋า แต่บอกขั้นตอนการทำ SPSS ว่าจะไป load ข้อมูลยังไง ใส่ยังไง ทำยังไง” HR 7 (313/13)

Aj. Sai: อาจเป็น level ก่อนและสุดท้ายมี mix จะดีมั้ย?
“ดี” (พูดพร้อมกันหลายคน และมีการพยักหน้าด้วย) HR 7(323-324/14)

Aj. Sai: แล้วที่โจทย์เป็นแบบ case base ช่วยให้เราเรียนรู้ได้ดีขึ้นมั้ย
“ดีฮะ มันเป็นเรื่องเป็นราว มันจะดีตอนที่เราไปเจออะไรจริงๆ เราจะนึกถึงเนื้อหา case ได้” (บางท่านพยักหน้า)
“ดีตอนเวลาสอบ เพราะเวลาอ.สอบชอบให้ทำ case” (บางท่านพยักหน้า)
“ตอน Part VDO ที่เป็น Aj. Art พูด ให้มี subtitle ได้มั้ย เพราะว่ามันช่วยได้เยอะ”
“เพิ่มข้อ Medley ให้ mix”
“เปลี่ยนเป็น OD Manager” HR 7 (326-331/14)

“ชอบ vdo เพราะมันมีขั้นตอนเป็น step ดี”
“Aj. Sai: คุณ…..ได้เข้าไปใช้ด้วยเหรอ (น้ำเสียงประหลาดใจ) นี่บางท่านยังไม่รู้เลยว่าใน web มี vdo ดีใจจัง
“ชอบที่สอนไปทีละ step เห็นทีละขั้นตอน ถึงแม้ว่าจะฟังไม่ค่อยรู้เรื่อง” (กลุ่มตัวอย่างในห้องหัวเราะ)
“รู้สึกว่า level หลังๆ จะง่ายกว่า level แรกๆ ผมว่าน่าจะเรียงเนื้อหาจากง่ายไปยาก” HR17 (25-27/1)

Aj. Sai: Step หลังๆ ง่ายกว่าเหรอ
“ครับ/ ค่ะ” (ตอบหลายคน)
“หลังๆนี่ทำได้เร็วมากเลย ผ่านตลอด รู้สึกว่าจะประมาณขั้นที่สามที่สี่มั้งที่ยากที่สุด
ทำซ้ำไม่รู้กี่รอบกว่าจะผ่าน” (มีกลุ่มตัวอย่างท่านอื่นๆพยักหน้า) HR17 (67-71/3)
“เรื่องคำถามก็ ok นะเกี่ยวกับ HROD” HR 17 (150/7)

Unless otherwise stated, the content of this page is licensed under Creative Commons Attribution-ShareAlike 3.0 License